Thursday, October 22, 2020

เฉลยข้อสอบบทที่ 3 เรื่อง พันธะเคมี

เฉลยข้อสอบบทที่ 3 เรื่อง พันธะเคมี


 1. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด


     1.   สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง

     2.   สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตระหว่างไอออนต่างชนิดกันี่ี่

     3. สารประกอบไอออนิกมักจะเกิดระหว่างโลหะที่มีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ต่ำกับอโลหะที่มี พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 สูง

  4.โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะโครงผลึกร่างตาข่าย แต่ละไอออนจะมีไอออนต่างชนิด ล้อมรอบอยู่ด้วยจำนวนคงที่เสมอ

 

2. ชุดสารในข้อใดมีสารไอออนิกสารเดียวเท่านั้น


.  1.


    2. 


    3. 


    4.


 


          3. สารประกอบชุดต่อไปนี้ ลำดับการจัดเรียงความเป็นสารไอออนิกจากมากไปน้อยที่ถูกต้องคือข้อใด


   1. 


    2. 


    3. 


 

 4.



       

พลังงานที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาที่กำหนดให้มีชื่อเรียงตามลำดับอย่างไร


    1.   พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน

     2.พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด

    3. สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการหลอมละลาย

    4.   สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด พลังงานพันธะ

 


          5. ถ้า XY เป็นสารประกอบไอออนิกที่มีแผนผังแสดงขั้นตอนการเกิด

              

          การเปลี่ยนแปลงพลังงานในขั้นใด มีการคายพลังงานและดูดพลังงานตามลำดับ

     1.  คายพลังงาน    2   ดูดพลังงาน    1

     2.คายพลังงาน    4    ดูดพลังงาน    3

     3. คายพลังงาน    5     ดูดพลังงาน    4

     4. คายพลังงาน    1,2   ดูดพลังงาน    6

 


         

          6. เอา  ใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้ำอยู่พอประมาณ เมื่อ  ละลายน้ำ ปรากฏว่ามีหยดน้ำเกาะอยู่ข้างบีกเกอร์ และเมื่อจับบีกเกอร์ดูจะรู้สึกเย็น อธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ว่า


     1.   พลังงานที่ใช้สลาย  ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สน้อยกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ

    2.พลังงานที่ใช้สลาย  ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ

    3.   พลังงานที่ใช้สลาย  ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สสูงมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำน้อยมาก

     4.   ปรากฏการณ์นี้ยังอธิบายไม่ได้

  


          7. ผลึกไอออนิกแตกหักเมื่อมีแรงเข้าไปกระทำเพราะเหตุใด


     1. ประจุชนิดเดียวกันผลักกัน

    2.  อิเล็กตรอนหลุดออกจากผลึก

    3.  จำนวนประจุบวกและลบไม่เท่ากัน

    4.  อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วขึ้น เนื่องจากมีพลังงานจลน์มากขึ้น

 


          8. ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของของแข็งชนิดไอออนิก


    1.   เป็นผลึก

    2.   ละลายในน้ำได้

    3.   มีจุดหลอมเหลวสูง

     4.นำไฟฟ้าได้ดีเมื่อหลอมเหลว

 


          9. สาร A เป็นสารที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง นำไฟฟ้าได้ดีทั้งในสถานะของแข็งและของเหลว อนุภาคสาร A ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยพันธะชนิดใด


    1.   พันธะโคเวเลนต์

    2. พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์

    3.   พันธะไอออนิก

    4.พันธะโลหะ


10.  ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานพันธะในโมเลกุลที่มี   C   สร้างพันธะกัน


           ก. พันธะเดี่ยว  >  พันธะคู่  >  พันธะสาม


            ข. พันธะเดี่ยว  <  พันธะคู่  <  พันธะสาม 


            ค. พันธะเดี่ยว  >  พันธะคู่  <  พันธะสาม


            ง. พันธะเดี่ยว  =  พันธะคู่  =  พันธะสาม

เฉลยข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ

เฉลยข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ


1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร

     ก.  ดอลตัน

     ข.  ทอมสัน

     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด

     ง.  โบร์

2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง

 ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป

 ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส

 ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส

 ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม

3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน

    ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

    ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน

    ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน

    ง.  โปรตอนกับนิวตรอน

4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

    ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม

    ข.นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมากภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน

    ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน

    ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน

5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
            ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ

            ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ

            ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ

            ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

6.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ

            ก.  31,  15,  15

            ข.  31,  16,  15

            ค.  16,  15,  15

            ง.  15,  31,  16

7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง

            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน

            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปอะตอม            ก.  2, 9

            ข.  2,  8,  1

            ค.  2,  6,  5

            ง.  1,  8,  2 

9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง

            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม

            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

      ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ

      ก.  คาบ 3 หมู่ 7

      ข.  คาบ 7 หมู่ 3

      ค.  คาบ 2 หมู่ 7

      ง.  คาบ 3 หมู่ 8

ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ

 

ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ


1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร

     ก.  ดอลตัน

     ข.  ทอมสัน

     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด

     ง.  โบร์

2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง

 ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป

 ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส

 ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส

 ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม

3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน

    ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

    ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน

    ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน

    ง.  โปรตอนกับนิวตรอน

4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

    ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม

    ข.นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมากภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน

    ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน

    ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน

5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
            ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ

            ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ

            ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ

            ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

6.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ

            ก.  31,  15,  15

            ข.  31,  16,  15

            ค.  16,  15,  15

            ง.  15,  31,  16

7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง

            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน

            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปอะตอม            ก.  2, 9

            ข.  2,  8,  1

            ค.  2,  6,  5

            ง.  1,  8,  2 

9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง

            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม

            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

      ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ

      ก.  คาบ 3 หมู่ 7

      ข.  คาบ 7 หมู่ 3

      ค.  คาบ 2 หมู่ 7

      ง.  คาบ 3 หมู่ 8

ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ

 

ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ


1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร

     ก.  ดอลตัน

     ข.  ทอมสัน

     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด

     ง.  โบร์

2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง

 ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป

 ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส

 ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส

 ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม

3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน

    ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

    ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน

    ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน

    ง.  โปรตอนกับนิวตรอน

4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

    ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม

    ข.นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมากภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน

    ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน

    ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน

5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
            ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ

            ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ

            ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ

            ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

6.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ

            ก.  31,  15,  15

            ข.  31,  16,  15

            ค.  16,  15,  15

            ง.  15,  31,  16

7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง

            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน

            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปอะตอม            ก.  2, 9

            ข.  2,  8,  1

            ค.  2,  6,  5

            ง.  1,  8,  2 

9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง

            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม

            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

      ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ

      ก.  คาบ 3 หมู่ 7

      ข.  คาบ 7 หมู่ 3

      ค.  คาบ 2 หมู่ 7

      ง.  คาบ 3 หมู่ 8

 ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ


1.  อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร

     ก.  ดอลตัน

     ข.  ทอมสัน

     ค.  รัทเทอร์ฟอร์ด

     ง.  โบร์

2.  ข้อใดกล่าวถูกต้อง

     ก.  ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป

     ข.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส

     ค.  มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส

     ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม

3.  อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน

     ก.  โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน

     ข.  โปรตอนกับอิเล็กตรอน

     ค.  นิวครอนกับอิเล็กตรอน

     ง.  โปรตอนกับนิวตรอน

4.  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

     ก.  โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม

     ข.นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมากภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน

     ค.  นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน

     ง.   อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน

5.  เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด

            ก.  จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ

            ข.  จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ

            ค.  จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ

            ง.  จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

 6.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ

            ก.  31,  15,  15

            ข.  31,  16,  15

            ค.  16,  15,  15

            ง.  15,  31,  16

7.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง

            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน

            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

8.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปอะตอม            ก.  2, 9

            ข.  2,  8,  1

            ค.  2,  6,  5

            ง.  1,  8,  2 

9.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง

            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม

            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

      ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

10.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ

      ก.  คาบ 3 หมู่ 7

      ข.  คาบ 7 หมู่ 3

      ค.  คาบ 2 หมู่ 7

      ง.  คาบ 3 หมู่ 8

ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ

ข้อสอบบทที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ


1.นักวิทยาศาสตร์ท่านแรกที่เสนอให้จัดธาตุ เป็นหมวดหมู่คือใคร

ก.  โยฮันน์  เดอเบอไรเนอร์

ข.  จอห์น  นิวแลนด์

ค.  ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์

ง.  เมนเดเลเอฟ

2. ตารางปัจจุบันปรับปรุงมาจากการจัดธาตุเป็นหมวดหมู่ของใคร

ก.  ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์

ข.  เมนเดเลเอฟ

ค.  จอห์น  นิวแลนด์

ง.  โยฮันน์  เดอเบอไรเนอร์

3. ข้อใดเป็นโลหะแอลคาไลทั้งสองธาตุ

ก.  F ,  Cl

ข.  Si  ,  Sb

ค.  Li  ,  Na

ง.  Ne  ,  Ar

4. ธาตุในข้อใดเป็นกึ่งโลหะทั้งหมด

ก.  F  ,  Cl

ข.  Si  ,  Sb

ค.  Li ,  Na

ง.  Ne  ,  Ar

5. ธาตุใดเป็นแก๊สเฉื่อย

ก.  F  ,  Cl

ข.  He  ,  Ne

ค.  Li  ,  Na

ง.  Fe  ,  Co

6. ธาตุที่เลขอะตอม 105 มีสัญลักษณ์ตามข้อใด

ก.  Unp

ข.  Unh

ค.  Une

ง.  Ung

7. ธาตุ A มีเลขอะตอม 33 ธาตุอยู่หมู่และคาบใด

ก.  หมู่ 4  คาบ 5

ข.  หมู่ 5  คาบ 3

ค.  หมู่ 5  คาบ 5

ง.  หมู่ 5  คาบ 4

8. ธาตุกลุ่มใดบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีพลังงานสูงสุดใน d ออร์บิทัล

ก.  Ne  ,  Ar

ข.  Na  ,  Mg

ค.  Ti  ,  V

ง.  N ,  O

9. ตารางธาตุปัจจุบันมีกี่คาบ

ก.  6 คาบ

ข.  7 คาบ

ค.  8 คาบ

ง.  9 คาบ

10. ธาตุ Mg และ S มีเลขอะตอม 12 และ 16 ตามลำดับมีเวเลนอิเล็กตรอนเท่าใดตามลำดับ

ก.1  และ  3

ข.2  และ  6

ค.1  และ  6

ง.3  และ  7

11. จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานมีเป็นจำนวนเท่าใด

ก.  2n

ข.  n2

ค.  2n2

ง.  3n2

12. ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนมีกี่ระดับ

ก.  7

ข.  6

ค.  4

ง.  9

13. โพแทสเซียมเลขอะตอมเท่ากับ 19 จะมีการจัดอิเล็กตรอนอย่างไร

ก.  2 , 8 , 9

ข.  2 , 8 , 18 , 1

ค.  2 , 8 , 8 , 1

ง.  2 , 8 , 7 , 2

14. ธาตุในคาบ 4 มีกี่ระดับพลังงาน

ก.  4

ข.  3

ค.  2

ง.  1

15. แมกนีเซียมมีเลขอะตอม 12 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด

ก.  1

ข.  2

ค.  3

ง.  4

 16.  ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ

            ก.  31,  15,  15

            ข.  31,  16,  15

            ค.  16,  15,  15

            ง.  15,  31,  16

17.  ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง

            ก.  ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน

            ข.  ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ค.  ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

            ง.  ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน

18.  ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปอะตอม            ก.  2, 9

            ข.  2,  8,  1

            ค.  2,  6,  5

            ง.  1,  8,  2 

19.  ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง

            ก.  จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

            ข.  มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม

            ค.  มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม

      ง.  มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม

20.  ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ

      ก.  คาบ 3 หมู่ 7

      ข.  คาบ 7 หมู่ 3

      ค.  คาบ 2 หมู่ 7

      ง.  คาบ 3 หมู่ 8


เฉลยข้อสอบบทที่ 1เรื่อง ความปลอดภัยเเละทักษะในปฏิบัติการเคมี

 เฉลยข้อสอบบทที่ 1เรื่อง ความปลอดภัยเเละทักษะในปฏิบัติการเคมี


 1. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

  ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

  ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

  ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

  ง.เกิดจากความประมาท


2. ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

  ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

  ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

  ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

  ง.ถูกทุกข้อ


3. เหตุการณ์ใดที่ไม่ทำให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้

  ก.อบเชยเทแอมโมเนียเข้มข้นลงในบีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร โดยไม่ทำในตู้ควัน

  ข.อามเทกรด HF ลงในบีกเกอร์พลาสติกโดยไม่ใส่ถุงมือและไม่ทำในตู้ควัน

  ค.นิดโดนขวดใส่เมทานอลที่ล้างสะอาดแล้วบาดมือ

  ง.นายดำคุยในขณะเทสารลงในคอลัมน์ทำให้สารกระเด็นเข้าปาก


4. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  ก.การต้มตัวทำละลายอินทรีย์ควรวางบน hot plate โดยตรงจะได้เดือดเร็วๆ

  ข.ในการสวมต่อเครื่องแก้ว 2 ชิ้นเข้าด้วยกันควรทากรีสหนาๆ เยอะๆ ที่ข้อต่อเครื่องแก้ว

  ค.ถ้าสารเคมีหกรดตัวบริเวณกว้างให้ถอดเสื้อที่เปื้อนออกและล้างตัวฉุกเฉินภายใน 15 นาที

  ง.ถ้าทำเครื่องแก้วแตก ให้รีบเก็บเศษแก้วทิ้งลงถังขยะทั่วไป


5. เมื่อเกิดไฟไหม้ควรทำอย่างไร

  ก.ปิดและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำลังใช้อยู่ทุกเครื่อง

  ข.รีบวิ่งเข้าลิฟต์ทันทีเพราะลิฟต์จะยังไม่ปิดเมื่อไฟเริ่มไหม้

  ค.วิ่งหนีอย่างไม่มีสติลงมาทันทีโดยไม่สนใจสิ่งใด

  ง.รีบกระโดดลงมาทางหน้าต่างทันที


6. พฤติกรรมของนิสิตคนใดที่เหมาะสมในการอยู่ในห้องปฏิบัติการ

  ก.วันนี้นิดต้องทำคอลัมน์ซึ่งสูงมาก จึงสวมร้องเท้าส้นสูงประมาณ 3 นิ้วในการทำแล็บ

  ข.ณัฐง่วงนอนขณะทำแล็บจึงเอากาแฟเข้ามาดื่มในห้องแล็บ

  ค.นิลสวมร้องเท้าผ้าใบและเสื้อแล็บพร้อมทั้งรัดผมทุกครั้งที่เข้าทำแล็บ

  ง.ไก่กับกิ๊กวิ่งหยอกล้อตีกันในห้องแล็บ


7. สารชนิดใดที่นิยมใช้ในเครื่องดับเพลิงสำหรับห้องปฏิบัติการ

  ก.คาร์บอนไดออกไซด์เหลว

  ข.ผงโซเดียมไฮดรอกไซด์

  ค.ผงแคลเซียมคาร์บอเนต

  ง.ผงโซเดียมไฮไดรด์


8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย

  ก.เครื่องดับเพลิง

  ข.อ่างล้างของ

  ค.สัญญาณเตือนภัย

  ง.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน


9. ข้อใดเป็นเทคนิคการสูดดมไอของสารเคมีที่ถูกต้อง

  ก.เอาจมูกสูดดมโดยตรงเพื่อให้ได้กลิ่นอย่างชัดเจน

  ข.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 1 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ค.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 3 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ง.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 6 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก


10. ข้อใดเป็นการใช้ตู้ควันที่ผิด

  ก.ยื่นศีรษะเข้าไปดูในตู้ควันว่ามันทำงานหรือยัง

  ข.ตั้งอุปกรณ์และชุดทดลองให้ลึกเข้าไปในตู้ควัน

  ค.ทำความสะอาดพื้นและหน้าต่างกระจกทันทีที่สารเคมีกระเด็นเปื้อน

  ง.หลังใช้งานเสร็จ ดึงกระจกลงมาให้อยู่เหนือพื้นตู้ประมาณ 1-2 นิ้ว


11. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายในระบบ NFPAสีแดงความหมายตรงกับข้อใด




ก.ไวไฟ

ข.อันตรายต่อสุขภาพ

ค.ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี

ง.สารกัดกร่อน


 12. สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด




ก.วัตถุระเบิด

ข.สารไวไฟ

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


13.สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด





ก.สารไวไฟ

ข.วัตถุระเบิด

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


 14. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ก.เมื่อเกิดแผลจากความร้อน นำยาสีฟันมาทาแผล

ข.เมื่อสัมผัสสารที่ไม่ละลายน้ำ ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำสบู่

ค.เมื่อมีแก๊สพิษ ให้ออกจากบริเวณนั้นไปยังบริเวณที่อากาศถ่ายเท

ง.เมื่อสัมผัสสารที่เป็นกรดเบส ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำไหลผ่านมากๆ


15. อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

ก.ปิเปตต์

ข.บิวเรตต์

ค.กระบอกตวง

ง.ขวดกำหนดปริมาตร


 16. อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

ก.บิวเรตต์

ข.ปิเปตต์

ค.บีกเกอร์

ง.กระบอกตวง


17. จากค่าตัวเลข 3.14285 เลขนัยสำคัญ 5 ตัวตรงตามข้อใด

ก.3.1427

ข.3.1428

ค.3.1429

ง.3.1430


18. 2.50 × 5.0 มีผลลัพธ์ตรงตามข้อใด

ก.12

ข.12.0

ค.12.5

ง.13.0


19. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

ง.เกิดจากความประมาท


20.ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

ง.ถูกทุกข้อ

เฉลยข้อสอบบทที่ 3 เรื่อง พันธะเคมี

เฉลยข้อสอบบทที่ 3 เรื่อง พันธะเคมี   1. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด      1.   สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง      2.   สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก...